วันพุธที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2557

เทคนิคการทำนาแบบ เอส อาร์ ไอ


เทคนิคการทำนาแบบ เอส อาร์ ไอ


. การเตรียมที่นา
        ในระบบ เอส อาร์ ไอ แนะนา ให้มีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์เป็นหลักเพื่อรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดิน ดังนั้น การไถนาทันทีที่เกี่ยวข้าวเสร็จจะดีที่สุด มันจะช่วยฆ่าแมลงและศัตรูพืชอื่น แม้ วัชพืช จะเติบโตแต่ก็จะถูกทาลายไปขณะทาให้ ดินเป็นโคลน
-  อย่าปล่อยให้น้ำท่วมนานอกฤดูกาลทำนา ไม่เช่นนั้น ดินจะขาดอากาศ และแมลงศัตรูพืชที่เป็นอันตรายจะเข้ามาอาศัย
การทำให้ดินเป็นโคลน
        กาจัดวัชพืชอย่างระมัดระวังระหว่างการไถคราด
        ถอนวัชพืชที่ไม่ตายออกทั้งรากให้หมดแปลง
จุดสำคัญ (ในการกาจัดวัชพืช)
         ในการกำจัดวัชพืชครั้งแรกแต่เนิ่น ภายใน 10–15 วันหลังการปักดำ นั้นสำคัญมากอย่าลืมปักต้นกล้าทดแทนต้นที่ตายหรือเสียหาย
ใช้น้ำให้น้อยที่สุด
         เป็นการให้ออกซิเจนแก่รากต้นกล้า
ออกซิเจนกับราก
         ต้นข้าวหายใจด้วยราก และออกซิเจนให้พลังงานแก่ต้นข้าว การให้ออกซิเจนแก่รากส่งผลดีอย่างยิ่ง ต่อการเติบโตของต้นข้าว และจาเป็นต่อการเพิ่มผลผลิตให้อยู่ในอัตราสูง ซึ่งอาจจะสูงได้ถึง 1.28 ตันต่อไร่ หรือมากกว่านั้น
   - ข้าวจะหายใจลาบากหากโดนน้าท่วม
   - ต้นข้าวจะสลบเพราะขาดอากาศหายใจ
   - รากจะไม่งอกเต็มที่
   - จะเกิดกรดขณะที่ต้นข้าวย่อยอาหาร
   - เนื้อเยื่อของรากจะกลายรูป (เปลี่ยนสภาพไป)
   - ต้นข้าวต้องการให้น้าท่วมตื้น ก็ต่อเมื่อเริ่มออกรวง จนถึงระยะแรก ที่ข้าวเริ่มตั้งท้อง
การปรับปรุงคุณภาพดิน
ปุ๋ยหมัก โดยทั่วไปการทา ปุ๋ยหมักมีขั้นตอนยุ่งยากและต้องพลิกกองปุ๋ยหมัก ปัจจุบันมีวิธีการทา ปุ๋ยหมักโดยไม่ต้องพลิกกองปุ๋ยหมักแต่จะวางท่อนไม้ใผ่ไว้ในกองปุ๋ยหมักเป็นชั้นเพื่อช่วยในการระบาย
อากาศและความร้อนและควรเตรียมปุ๋ยหมักไว้ล่วงหน้าอย่างน้อย 2 - 3 เดือน
ปุ๋ยพืชสด มีข้อดีคือไม่ต้องขนย้ายเหมือนปุ๋ยหมักเพียงหว่านเมล็ดพันธุ์ปุ๋ยพืชสดและเมื่อได้เวลาก็ทา
การไถกลบ ปุ๋ยพืชสดที่นิยมได้แก่ โสนอัฟริกา ใช้เมล็ดพันธุ์ 3 กก.ต่อไร่ และทาการไถกลบเมื่ออายุ 50 – 60 วัน ส่วนถั่วเขียวใช้เมล็ดพันธุ์ 7-8 กก.ต่อไร่และไถกลบเมื่ออายุ 40 – 45 วัน
ปรับพื้นที่ให้เรียบและทา ร่องน้าที่ขอบคันนาเพื่อความสะดวกในการระบายน้าเข้า-ออก
ปลูกพืชตระกูลถั่วหลังการทานาเพื่อเสริมรายรับและช่วยปรับปรุงดิน
     
      จากประสบการณ์ทานาแบบ เอส อาร์ ไอ เน้นการใช้ปุ๋ยหมักเพราะปุ๋ยหมักมีส่วนประกอบของธาตุอาหารหลายอย่างที่จาเป็นต่อการเจริญของพืช นอกจากจะได้รับจากซากพืชแล้วยังได้รับจากซากสัตว์อีกด้วย
      
      การไถกลบปุ๋ยพืชสดในช่วงที่ออกดอกหรือใกล้ออกดอกเพราะเป็นช่วงที่ปุ๋ยพืชสดได้มีการสะสมอาหารในตัวมากที่สุดและในช่วงที่ปุ๋ยพืชสดขึ้นควรระวังไม่ให้วัวควายเข้ามาในแปลงนา
การปรับที่นาและการทำ ดินให้เป็นโคลน
สาหรับต้นกล้าอ่อน ไม่จาเป็นต้องให้โคลนลึกนัก ให้มีน้าน้อย
- โคลนไม่ควรเละเป็นน้า แต่ควรเหนียวข้น ไม่มีน้าขัง
- ที่นาควรราบเรียบสม่าเสมอ เพื่อให้น้าแผ่ไปถึงต้นกล้าได้ทุกต้น
- เริ่มทาให้ดินเป็นโคลนไปพร้อมกับเพาะต้นกล้า และทาไปเรื่อย ให้เสร็จตอนจะ ปักดาพอดี

. การเพาะกล้า
ควรเพาะกล้าก่อนปลูก 8 –12 วัน
การเตรียมแปลงกล้าให้ทำ เหมือนแปลงผักให้มีการผสมปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักเพื่อให้ดินร่วนซุยเมื่อถอนกล้าไปปลูกรากข้าวจะได้การกระทบกระเทือนน้อย
   เพาะกล้าขนาด 3 X 2 เมตร ซึ่ง 1 แปลงเพาะเมล็ดได้ 250 - 300 กรัม ดังนั้นถ้ามีพื้นที่ 1 ไร่ ใช้เมล็ด พันธุ์ข้าว 1 กิโลกรัมต้องเพาะในแปลงเพาะขนาดนี้ 4 แปลง
แช่เมล็ดพันธุ์นาน 12-24 ชั่วโมงในน้าอุ่น 35-40 องศาเซลเซียสจะดีที่สุดหรือตามแบบที่เคยทามา
หว่านเมล็ดพันธุ์ในโรงเพาะชำ ให้หว่านไว้หลาย วัน เพื่อให้แน่ใจว่าจะมีต้นกล้าอ่อนๆ มากพอที่ จะปลูกตลอดระยะเวลาของการปักดา
โรงเพาะชำ ควรจะเล็กและอยู่ใกล้แปลงที่จะปลูกข้าวมากที่สุด
แปลงเพาะขนาด 2 X 3 ตารางเมตรใช้เมล็ด 250 - 300 กรัม ดังนั้นถ้ามีพื้นที่ 1 ไร่ ซึ่งต้องใช้เมล็ดพันธุ์ 1 กิโลกรัม จึงต้องใช้แปลงเพาะขนาดนี้ 4 แปลง หลังหว่านเมล็ดคลุมด้วยฟางหรือใบกระถินหรืออื่น ที่เหมาะสม
อย่าให้น้าท่วมโรงเพาะชำ แต่ให้มีความชื้นในดินเหมือนในโรงเพาะชาพันธุ์ผัก ทำทางระบายน้ำ
เล็ก เพื่อให้น้าไหลออก
ในวันหนึ่ง ฝนควรจะตกอย่างเพียงพอ หากวันไหนฝนไม่ตก ให้รดน้ำเช้าเย็น อย่ารดน้ำขณะที่
แดดร้อนจัด
การเตรียมเมล็ดพันธุ์
ใช้เมล็ดพันธุ์ประมาณ 1 กิโลกรัมต่อไร่
แช่เมล็ดพันธุ์ข้าวตามที่เคยทา มา หากมีปัญหาเรื่องบั่วขอแนะนา ให้แช่เมล็ดพันธุ์ข้าวด้วยน้าสะเดา
เมล็ดพันธุ์ 250-300 กรัม เพาะในพื้นที่ 6 ตารางเมตร 1 กิโลกรัมเพาะในพื้นที่ 24ตารางเมตร ให้มีการรดน้ำวันละครั้ง(หากฝนไม่ตก แต่ถ้าฝนตกต้องระบายน้าออกไปไม่ให้ขังอยู่ในแปลงนา)

. การขนย้ายกล้าออกจากแปลงเพาะชา อย่างระมัดระวัง
ถอนต้นกล้าทีละ 2-3 ต้นเท่านั้น ให้ขนย้ายไปยังแปลงปลูกข้าวทันที แล้วปักดำ ไม่เกินครึ่งชั่วโมง
หลังจากถอนต้นกล้า ทั้งนี้ เพื่อไม่ให้รากต้นกล้าแห้ง
ถอนต้นกล้าเบา ตรงโคนต้น ใช้เครื่องมือเล็ก เช่น เกรียง ขุดให้ลึกถึงใต้ราก ซึ่งจะเป็นการ
รบกวนต้นกล้าน้อยที่สุด
คอยระวังอย่าให้ต้นกล้าหลุดออกจากเมล็ดพันธุ์ และให้มีดินเกาะรากไว้บ้าง
ให้ถอนต้นกล้าและขนย้ายอย่างเบามือ อย่าให้ช้า อย่าล้างราก อย่าทิ้งไว้กลางแดด เท่านี้ยังไม่นับ
ว่าเน้นมากพอ เพราะต้นกล้าอ่อน เป็นสิ่งมีชีวิตที่บอบบางมาก หากต้นกล้าได้รับการ
สัมผัสเบา การเติบโตจะไม่ชะงัก และใบจะไม่เหลือง
จุดสำคัญ (ในการเพาะชำ)
เพาะเมล็ดพันธุ์ไว้หลาย วัน
อย่าสร้างโรงเพาะชาบนดินเค็ม หากที่นาเค็มให้ปักดา เมื่อต้นกล้ามีใบ 3-4 ใบ (15-17วัน) – ให้โรงเพาะชา แห้งเกือบสนิท แต่ให้ดินชื้นไว้
ถอนต้นกล้าเบาที่สุดเท่าที่จะทาได้
- อย่าลืมว่าต้องไม่ให้ต้นกล้าหลุดออกจากเมล็ดพันธุ์

. การดำนาหรือปักดำ ให้ต้นกล้าอยู่ห่างกันพอสมควรและปักดำทีละต้น
กล้าที่จะดำ มีอายุประมาณ 8 – 12 วัน หรือ มีใบ 2 ใบ
ในการปลูกให้ปลายรากอยู่ในแนวนอนอย่างสม่าเสมอ (ปลายรากจะชอนไชลงดินได้ง่ายและเป็น
การประหยัดพลังงานทา ให้ข้าวตั้งตัวได้เร็ว)
ในการถอนมาแต่ละครั้งปลูกให้หมดภายใน 15-30 นาที เพื่อช่วยลดความเครียดให้กับต้นข้าว
ปลูกในระยะห่างไม่น้อยกว่า 25 เซ็นติเมตรเท่า กัน
ปลูกเป็นรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสเพื่อความสะดวกในการกำจัดวัชพืชระหว่างแถวและระหว่างต้น


ภาพ การปลูกข้าวแบบ เอส อาร์ ไอ

หลักการ : ปักดำต้นกล้าขณะที่เพิ่งแตกใบได้ 2 ใบ 
- ระหว่าง 6 และ 11 วัน หลังจากแช่เมล็ดพันธุ์ในน้ำอุ่น และอากาศชื้น
- ระหว่าง 7 และ 13 วัน หากที่นาสูงกว่าระดับน้ำทะเล 500-1,000 เมตร
- ระหว่าง 8 และ 15 วัน หากที่นาสูงกว่าระดับน้ำทะเล 1,000-1,500 เมตร
           หากปักดำ ต้นกล้านอกเหนือจากระยะเวลาที่กล่าวมานี้ ต้นข้าวที่จะงอกในแต่ละกอจะมีจานวนน้อย เวลา 8-10 วัน เหมาะที่สุดในทุกสถานการณ์ แต่เกษตรกรควรทดลองดูว่า ควรใช้ระยะเวลาเท่าใดจึงจะได้ผลผลิตมากที่สุดในสถานการณ์ของตน (เช่น หากสภาพ ดินเค็มขอแนะนาำ ให้ปักดำ เมื่อต้นกล้าแตกใบ 3-4 ใบ)
.1 ปักต้นกล้าทีละต้น
           นี่คือกุญแจสาคัญ การปักต้นกล้าทีละหลายต้น จะทา ให้ต้นข้าวแย่งอาหารและแสงแดดกันปักต้นกล้าแยกกัน ทีละต้น อย่าปักเป็นกำ  ทีละหลายต้น
.2 ปักต้นกล้าเป็นรูปตาราง (40 x 40 หรือ 33 x 33 หรือ 25 x 25 ตารางเซนติเมตร)
    - ให้ต้นกล้าแต่ละต้นอยู่ห่างกัน เพื่อให้รากได้แผ่กว้างและได้รับแสงแดดมากขึ้น
    - หาเชือกมาผูกปม ทุก 40 หรือ 33 หรือ 25 เซนติเมตร เพื่อบอกระยะ ขึงเชือกที่ผูกปมแล้วนี้ไว้ที่ด้านหนึ่งของแปลงข้าว
    - ปักต้นกล้าลงตรงที่มีปมเชือก แรงงาน 1 คน ปักดา คนละ 2-4 เมตร
    - เสร็จแล้วย้ายเชือกไปขึงขนานกับต้นกล้าแถวแรก และให้ห่างจากแถวแรก 40 หรือ 33 หรือ 25 เซนติเมตร แรงงานที่อยู่กลางกลุ่มควรเป็นคนดูแลให้การปักกล้าเป็นแถวแนวไม่บิดเบี้ยว
.3 ข้อควรจา ในการปักดา เป็นรูปตาราง
    1. เพื่อให้ปักดา ในแนวดิ่งได้เร็วขึ้น ให้ขึงเชือกที่ผูกปมแล้วอีกเส้น ให้ตั้งฉากกับเชือกเส้นแรกโดยขึงตรงกลางแปลงปลูกข้าว
    2. การปักต้นกล้าให้ห่างกัน 40 x 40 เซนติเมตรจะเร็วกว่าปักห่างกัน 25 x 25 เซนติเมตร และเหมาะกับแปลงใหญ่ๆ นอกจากนั้น ยังง่ายต่อการกาจัดวัชพืช เน้นการประหยัดเมล็ดพันธุ์ ทาให้ข้าวแตกกอใหญ่กว่า ซึ่งเป็นเป้าหมายและเป็นหลักฐานพิสูจน์ข้อได้เปรียบของการปลูกข้าวแบบมาลากาซี
    3. การปักต้นกล้าเป็นรูปตาราง โดยมีช่องว่างกว้างและสม่ำเสมอ ทาให้เกษตรกรกาจัดวัชพืชได้สอง
ทิศทาง คือเป็นมุมฉาก ตอนแรกขึ้นลงตามแนวตั้ง แล้วซ้ายขวาแนวนอน
.4 ปักดา อย่างเบามือ
    - ใช้นิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้จับโคนราก
    - ปักต้นกล้าลงในโคลนเบา
    - อย่าปักตรงลงไปแบบนี้ u แต่ให้ปักเฉียง แบบนี้ L
    - ทั้งนี้ เพื่อให้รากงอกแผ่ไปตามแนวนอน ไม่งอกชี้ขึ้นข้างบน
    - อย่าปักลึกเกินไป อย่าให้ลึกเกิน 1 – 2 เซนติเมตร
    - เผื่อต้นกล้าไว้ปักที่ขอบแปลง เอาไว้แทนต้นกล้าที่อาจตายหรือเสียหาย
จุดสำคัญ (ในการปักดำ )
          อย่าปักลึกเกินไป
   – ต้องไม่ลืมที่จะเผื่อต้นกล้าไว้ปักที่ขอบแปลง เอาไว้แทนต้นกล้าที่ตายหรือเสียหาย

. การควบคุมน้ำ ในแปลงนา
.1 การระบายน้ำ
        การทำ ให้นาแห้งต้องให้น้ำสามารถออกจากนาได้น้ำที่ไหลเร็วจะเอาออกซิเจนออกไปมากกว่าน้าที่ค่อย ไหลออก หรือค่อย ลดลง
    - ทาความสะอาดคูคลองระบายน้า ขุดเซาะออกให้กว้างขึ้น
    - การวางท่อ หรือขุดคูรอบแปลงจะคุ้มค่าเพราะทา ให้น้าไหลออกง่ายขึ้น
.2 ใช้น้าให้น้อยที่สุด
    - ขณะดานา ให้ใช้น้าแต่น้อย ให้มากพอที่จะทา ให้ดินเป็นโคลนเท่านั้น
    - ขณะที่ข้าวแตกกอ ปล่อยให้แปลงข้าวแห้งลงไปในเนื้อดิน (ดูข้อต่อไป) ไม่ต้องกังวลเรื่องรอยแตกบนผิวโคลน
    - ให้น้าท่วมเฉพาะตอนที่ข้าวเริ่มออกรวง ปล่อยให้น้าท่วมตื้น จนถึงระยะที่ข้าวเริ่ม ตั้งท้องให้น้าสูงเพียง 1-2         เซนติเมตร อย่าให้มากกว่านั้น อย่าให้น้าท่วมนาก่อนข้าวจะเริ่มออกรวง
    - ทันทีที่ต้นข้าวเริ่มลู่ลงเพราะน้าหนักของเมล็ดข้าว ให้ปล่อยน้าออกจากนา จนกว่าจะแห้งและถึงเวลาเก็บเกี่ยว
.3 การทำนา ให้นาแห้ง (2-3 เดือนแรก)
          เมื่อต้นกล้าเริ่มแตกหน่อ (เดือนแรก) ต้นข้าวต้องการเพียงความชื้น และการทา ให้แห้งก็มีผลดีต่อการเพิ่มผลผลิต ต่อไปนี้คือวิธีการพื้นฐาน 3 วิธี ที่ควรใช้ตามแต่สภาพภูมิอากาศและสภาพการระบายน้าออกจากนา
    - เลื่อนเวลาการทดน้าเข้านา หลังจากปักดาแล้ว และระหว่าง 2 เดือนแรก อย่าเพิ่งทดน้าเข้านา ให้รดน้าก่อนการ                     กำจัดวัชพืชเท่านั้น เพื่อให้ดินรักษาความชื้นไว้ได้ (ระหว่างนี้ดินควรจะค่อน ข้างเปียก) วิธีนี้ดีที่สุดและง่ายมาก
    - จัดการให้นาแห้งชั่วคราว ทุกสัปดาห์ หรือเมื่ออากาศอานวย ทาให้นาแห้งครั้งละ 2-6 วัน
    - ให้ทดน้ำเข้านาสูง 2 เซนติเมตร ทุกเช้า ทุกวัน อย่างสม่ำเสมอ และปล่อยให้นาแห้งในตอนบ่าย
ข้อควรจำ ในการทำให้นาแห้ง
1. การจัดการน้าในรูปแบบนี้ช่วยลดการสูญเสียพลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ ซึ่งถูกผิวน้านิ่ง
ในนาสะท้อนออกไป ข้าวก็เช่นกันกับพืชอื่น ย่อมเติบโตอย่างรวดเร็วหากได้รับความอบอุ่นมากขึ้น ดังนั้น หากนาข้าวไม่ถูกน้าท่วมจะดีกว่าจะได้อุ้มความอบอุ่นได้มากขึ้น ในขณะเดียวกันก็ได้ออกซิเจนแก่รากมากขึ้นด้วย
2. นอกจากนั้น การประหยัดน้าก็เป็นสิ่งที่ดี และการใช้เวลานานในการทา ให้นาแห้งจะช่วยลดก๊าซ
มีเทนด้วย
3. ให้ระมัดระวัง หากนาข้าวเค็มหรือเป็นทราย
จุดสำคัญ (น้ำ)
         การทำ ให้นาแห้งนั้น ต้องให้แห้งลึกลงไปในดิน และมีรอยแตกบนผิวโคลน แต่อย่าลืมทดน้าเข้านาทันทีที่ข้าวเริ่มออกรวง
ในช่วงที่ต้นข้าวเจริญเติบโตไม่ควรให้มีน้าขังในแปลงนาแต่มีการให้น้าโดยการปล่อยน้าเข้าออก ในบางครั้งควรปล่อยที่นาให้แห้งจนดินแตก การปล่อยให้ผืนนาแห้งเช่นนี้ช่วยให้ข้าวได้รับแสงแดดอย่างเพียงพอ เป็นผลให้ขบวนการสังเคราะห์แสงมีประสิทธิภาพสูงแต่เมื่อข้าวเริ่มออกรวงให้ขังน้าไว้ในแปลงนา 1 – 2 เซนติเมตร และปล่อยน้าออกก่อนทาการเก็บเกี่ยว 20 วัน

. การดูแลรักษา
การกำจัดวัชพืช เนื่องด้วยระบบ เอส อาร์ ไอ ใช้กล้าต้นอ่อนปลูกระยะห่างพอสมควรอีกทั้งไม่มี
การขังน้าในแปลงนาซึ่งสภาพที่นาเช่นนี้เหมาะแก่การเจริญเติบโตของวัชพืช ดังนั้นควรมีการกาจัด
วัชพืชอย่างน้อย 3 ครั้ง เกษตรกรหลายคนใช้เครื่องทุ่นแรงในการกาจัดวัชพืช ที่ผลิตจากโรงงาน
หรือประดิษฐ์ขึ้นมา บางท่านถอนด้วยมือถ้าถอนด้วยมือ เมื่อถอนแล้วจะเหยียบฝังต้นวัชพืชลงใน
แปลงนาเพื่อเป็นปุ๋ยต่อไป

ตารางเวลาในการกาจัดวัชพืช ครั้งที่
อายุข้าว (วัน)
1
10
2
25-30
3
55-60
4
แล้วแต่ความเหมาะสม

ในการกาจัดวัชพืชต้องใช้เวลาและแรงงานมากพอสมควร แต่ในการกาจัดวัชพืชแต่ละครั้งช่วยให้ผล
ผลิตเพิ่มขึ้นในระดับที่คุ้มกับการลงทุน เพราะทาให้อากาศเข้าไปในดินได้มากซึ่งเป็นเหตุให้รากข้าว ได้รับออกซิเจนโดยตรงมีผลต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว
ประโยชน์ในการกาจัดวัชพืช
          แสดงประโยชน์ของการกาจัดวัชพืชโดยกล่าวถึงผลผลิตที่เกษตรกรในแอมบาโทวากี ซึ่งใช้หลักการ เอส อาร์ ไอ (S.R.I.) ในฤดูกาล 1997– 1998 ได้รับ แล้วเปรียบเทียบผลผลิตกับจานวนวัชพืชที่กาจัดออกไป ภายใต้เงื่อนไขการเจริญเติบโตในชุมชน (ซึ่งเป็นที่สูงและดินถ่ายเทน้าได้ดี) การจากัดวัชพืชมากกว่า 2 ครั้ง ให้ประโยชน์อย่างยิ่ง ทาให้ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้นประมาณ 320 ต่อไร่ ต่อการกาจัดวัชพืชแต่ละครั้ง เกษตรกร 2 รายไม่กาจัดวัชพืชเลยได้ผลผลิต 960 กิโลกรัมต่อไรขณะที่เกษตรกร 8 ราย กาจัดวัชพืช 1 ครั้งเท่า นั้น ได้ผลผลิต 1,232 กิโลกรัมต่อไรส่วนเกษตรกร อีก 27 ราย กาจัดวัชพืช 2 ครั้งได้ผลผลิตใกล้เคียงกันคือ 1,184 กิโลกรัมต่อไร่แต่เ กษตรกรจานวน 24 รายซึ่งกาจัดวัชพืช 3 ครั้งได้ผลผลิตเฉลี่ย 1,456 กิโลกรัมต่อไร่ และเกษตรกร อีก 15 รายที่กาจัดวัชพืช 4 ครั้งได้ผล 1,880 กิโลกรัมต่อไร่ ข้อมูลนี้เ ป็นเหตุผลใหเ ชื่อมั่นได้ว่า การกาจัดวัชพืชมากครั้งเท่าที่กาหนดขั้นต่าไว้จะให้ผลผลิตดีกว่า
การควบคุมและกาจัดศัตรูพืช
ปัญหาโรคและศัตรูพืชดูจะปรากฏน้อยในไร่นาที่ใช้ระบบ เอส อาร์ ไอ ( S.R.I.) อาจเป็นเพราะการทาแปลงนาให้ชื้นน้อยลง เป็นที่รู้กันดีว่าต้นพืชที่แข็งแรงและสมบูรณ์กว่าสามารถต้านโรคและศัตรูพืชได้ดีกว่า เกษตรกรที่ทานาแบบ เอส อาร์ ไอ มีวิธีการควบคุมป้องกันและกาจัดศัตรูและโรคพืชดังนี้
- แมลงและโรคบางชนิดใช้สารธรรมชาติเช่นสะเดาในการป้องกันและกาจัด
- ปูใช้เมล็ดมะขาม, ดอกทองกวาว, ยอดมันสาปะหลัง ,กับดัก
- หอยเชอรี่ใช้กับดักและสารซาโปนินที่มีในสมุนไพร
- การใช้น้าสกัดชีวภาพ

ภาพแสดงการกาจัดวัชพืชในนาข้าวด้วยเครื่องทุ่นแรงอย่างง่าย

การใช้น้าสกัดชีวภาพ
- น้าสกัดชีวภาพจากพืช(ผักบุ้ง,หน่อไม้,หยวกกล้วย,และพืชตระกูลถั่วอื่นๆที่มีการเจริญ
เติบโตเร็ว) ให้มีการฉีดพ่นช่วงที่ข้าวเจริญเติบโต
- น้าสกัดชีวภาพจากผลไม้(กล้วย,ฟักทอง,มะละกอ,ฯลฯ)ให้มีการฉีดพ่นช่วงข้าวท้องและเป็นรวง
- น้าสกัดชีวภาพจากปลาพ่นเพื่อช่ายเพิ่มธาตุไนโตรเจนในช่วงที่ข้าวเจริญเติบโต
การจัดการหลังออกรวง
เอส อาร์ ไอ ( S.R.I.) เน้นความพยายามให้ต้นพืชเจริญเติบโตอย่างมั่นคงและกระตุ้นให้รากและหน่อ งอกจานวนมาก ในระหว่างการเจริญเติบโต เราจะมาดูกันว่า ควรจะจัดการอย่างไรกับต้นข้าว ระหว่างสัปดาห์และเดือนต่อๆ มา กลยุทธการจัดการน้าควรเปลี่ยนทันทีเมื่อดอกเริ่มออก โดยคงระดับน้า ในแปลงนา (ประมาณ 2 เซ็นติเมตร)
การใช้แรงงาน
เหตุผลประการหนึ่งที่เกษตรกรปฏิเสธไม่ใช้หลักการ เอส อาร์ ไอ ( S.R.I.) ก็คือ ต้องใช้แรงงานมาก นี่เป็นเรื่องจริงในแง่ที่ว่าการเพิ่มผลผลิตข้าวต้องอาศัยงานที่ต้องทา และความพยายามในการจัดการที่มากขึ้น อย่างไรก็ตาม ความต้องการแรงงานที่เพิ่มขึ้นสาหรับวิธีการ เอส อาร์ ไอ ( S.R.I.) ไม่ได้หมายความว่าจะต้องลงทุนจ้างคนงานเพิ่มขึ้น ในอีกแง่หนึ่ง เกษตรกรจะพบว่าวิธีการ เอส อาร์ ไอ ( S.R.I.) ใช้แรงงานน้อยกว่า 
1. แรงงานที่เพิ่มขึ้นบางส่วนสาหรับวิธีการ เอส อาร์ ไอ ( S.R.I.) ก็เพื่อใช้ในการเรียนรู้ ซึ่งเป็นการลงทุนที่น่าจะได้ผลตอบแทนคืนในฤดูแรก
2. ผลการศึกษาพบว่า ต้องใช้แรงงานทางานเพิ่มขึ้น 2 ใน 3 ส่วน ของเวลาปกติในปีแรกและปีที่
สอง แต่เมื่อเกษตรกรเริ่มคุ้นเคยกับวิธีการแล้ว ก็จะรู้สึกผ่อนคลายกับวิธีการเหล่านั้น (โดยเฉพาะ การย้ายปลูก) ความต้องการแรงงานก็จะลดลง หนึ่งในสามส่วน
3. ข้อแตกต่างที่เด่นชัดในแง่ของการใช้แรงงานตามวิธีของ เอส อาร์ ไอ ( S.R.I.)กับวิธีปลูกข้าวแบบ
ที่ใช้อยู่ทั่วไปคือ ต้องใช้แรงงานอย่างหนักเพื่อการเก็บเกี่ยว แต่ก็ไม่มีเกษตรกรคนใดบ่นว่ามีผลผลิตข้าวที่ต้องขนจากนามาสีหลายรอบเหลือเกิน เพราะนั่นหมายความว่า ครอบครัวจะมีรายได้เพิ่มมากขึ้นจากแรงงานที่ลงทุนไป
4. หากเกษตรกรมีกิจธุระอื่นต้องทา จนแรงงานไม่เพียงพอที่จะใช้เพื่อ เอส อาร์ ไอ ( S.R.I.) ก็ยัง
คงคุ้มค่าที่จะจ้างแรงงานภายนอกมาช่วย